บทที2
กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์
Phase 1 : สำรวจปัจจัยสำคัญ(Research)
1. รู้จักตัวเอง-กำหนดเป้าหมายและสำรวจความพร้อม
2. เรียนรู้ผู้ใช้-ระบุกลุ่มผู้ใช้และศึกษาความต้องการการ
3. ศึกษาคู่แข่ง-สำรวจการแข่งขันและการเรียนรู้คู่แข่ง
1. รู้จักตัวเอง-กำหนดเป้าหมายและสำรวจความพร้อม
2. เรียนรู้ผู้ใช้-ระบุกลุ่มผู้ใช้และศึกษาความต้องการการ
3. ศึกษาคู่แข่ง-สำรวจการแข่งขันและการเรียนรู้คู่แข่ง
Phase 2 : พัฒนาเนื้อหา(Site Content)
4. สร้างกลยุทธ์การออกแบบ
5. หาข้อสรุปขอบเขตเนื้อหา
4. สร้างกลยุทธ์การออกแบบ
5. หาข้อสรุปขอบเขตเนื้อหา
Phase 3 : พัฒนาโครงสร้างเว็บไซท์(Site Structure)
6. จัดระบบข้อมูล
7. จัดทำโครงสร้างข้อมูล
8. พัฒนาระบบเนวิเกชัน
6. จัดระบบข้อมูล
7. จัดทำโครงสร้างข้อมูล
8. พัฒนาระบบเนวิเกชัน
Phase 4 : ออกแบบและพัฒนาหน้าเว็บ(Visual Design)
9. ออกแบบลักษณะหน้าตาเว็บ
10. พัฒนาเว็บต้นแบบและข้อกำหนดสุดท้าย
9. ออกแบบลักษณะหน้าตาเว็บ
10. พัฒนาเว็บต้นแบบและข้อกำหนดสุดท้าย
Phase 5 : พัฒนาและดำเนินการ (Production & Operation)
11. ลงมือพัฒนาเว็บ
12. เปิดเว็บไซท์
13. ดูแลและพัฒนาต่อเนื่อง
11. ลงมือพัฒนาเว็บ
12. เปิดเว็บไซท์
13. ดูแลและพัฒนาต่อเนื่อง
บทที่ 3
ออกแบบเพื่อผู้ใช้
ออกแบบเพื่อผู้ใช้
กำหนดเป้าหมายของเว็บ
เป้าหมายของเว็บไซต์นั้นควรจะสัมพันธ์กับเป้าหมาย
ของหน่วยงาน สามารถวัดผลได้ และตั้งอยู่บนความเป็นไปได้
เพื่อจะได้ออกแบบเนื้อหาและการใช้งานภายในเว็บ ได้ตรงตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
ตัวอย่างเป้าหมายของเว็บทั่วไป ได้แก่
- สำหรับเว็บที่สร้างขึ้นใหม่ (New Site)
@เพิ่มรายได้จากการขายสินค้าหรือให้บริการอย่างสมบูรณ์
@สร้างความแตกต่างเหนือคู่แข่ง
@โปรโมทสินค้าหรือบริการ ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง
@ลดค่าใช้จ่ายด้านการพิมพ์หรือการโฆษณา
@เข้าถึงลูกค้ากลุ่มใหม่ เพื่อขยายฐานลูกค้า
@ลดปริมาณโทรศัพท์ ในการตอบคำถามลูกค้า
@สร้างภาพลักษณ์ที่ดีของหน่วยงาน
ค้นหาเป้าหมายร่วมระหว่างผู้ใช้กับผู้สร้างเว็บ
- เว็บเปรียบได้กับสินค้าที่ต้องผลิตออกมาให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค
ทำไมผู้ใช้จึงอยากเข้ามาในเว็บคุณ?
การรวมความต้องการของหน่วยงานเข้ากับความต้องการของผู้ใช้ จะเป็นพื้นฐานสำคัญในการกำหนดกลยุทธของเว็บไซต์ และเป็นแนวทางสำคัญในการกำหนดเนื้อหาและฟีเจอร์ต่าง ๆ ของเว็บต่อไป
รู้จักกลุ่มผู้ใช้
คำถามสำคัญเกี่ยวกับผู้ใช้ ประกอบด้วย
1. ใครคือผู้ใช้หลักของเว็บ
2. พวกเขามีจำนวนเท่าไร?
3. พวกเขาเข้าถึงเว็บไซต์ได้อย่างไร?
4. อะไรคือสิ่งที่พวกเขาต้องการ?
5. พวกเขาทำอะไร เมื่อเข้ามาถึงเว็บไซต์
ข้อมูลผู้ใช้แบ่งได้เป็น 4 แบบ ดังต่อไปนี้
1. Demographics : ข้อมูลทางประชากร เป็นข้อมูล ขั้นต้นที่ง่ายที่สุด เช่น เพศ อายุ ที่อยู่
2. Webographics : ข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์ ความคิดและพฤติกรรม ที่เกี่ยวข้องกับเว็บ ได้แก่
- สถานที่ในการเข้าสู่อินเตอร์เน็ต
- ช่วงเวลาที่ออนไลน์
- ความถี่ในการเข้าชมเว็บ
ข้อมูลผู้ใช้แบ่งได้เป็น 4 แบบ ดังต่อไปนี้ (ต่อ)
3. Psychographics : ลักษณะทางจิตวิทยา ครอบคลุมถึง ความสนใจ ความนิยม ทัศนคติ บุคลิกภาพ
4. Behavior & Activities : พฤติกรรมและกิจกรรมอาจได้แก่ กิจกรรมที่ชื่นชอบ กีฬาที่สนใจ งานอดิเรก พฤติกรรมอื่น ๆ
สิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจากเว็บไซต์
- ความบันเทิง อาจอยู่ในรูปแบบของเกมส์,เสียงเพลง
- ของฟรี
ข้อมูลหลักที่ควรมีอยู่ในเว็บไซต์
@ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
@รายละเอียดผลิตภัณฑ์
@คำถามยอดนิยม (FAQ : Frequently asked question)
@ข้อมูลในการติดต่อ
ออกแบบเพื่อผู้ใช้ทุกระดับ
เว็บหนึ่งควรจะสามารถรองรับได้ทั้งผู้เริ่มต้น ผู้มีประสบการณ์ และผู้มีความเชี่ยวชาญ
เพื่อตอบสนองความต้องการที่เหมือนกันคือ เข้าถึงส่วนที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยผ่านระบบการนำทางที่สื่อความหมายและมีประสิทธิภาพ
ออกแบบเพื่อผู้ใช้ทุกระดับ
- ผู้ใช้อาจแบ่งได้หลายกลุ่มเช่นกลุ่มที่มีประสบการณ์และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญซึ่งเราควรมีทางลัดที่จะไปสู่ส่วนที่ต้องการเร็วสุด ส่วนกลุ่มผู้ใช้หน้าใหม่ที่ต้องมีสิ่งชี้แนะสำหรับมือใหม่เพื่อตอบสนองลักษณะการใช้งานของผู้ใช้ทุกกลุ่ม
วิธีที่ดีที่สุด สำหรับผู้สร้างเว็บคือการหาเวลาพูดคุย
รับฟังความคิดเห็นและคำวิจารณ์ รวมถึงปัญหาและความไม่สะดวกของผู้ใช้เป็นต้น
-การแบ่งข้อมูลต้องอาศัยพื้นฐานทางด้านภาษามาช่วยเพราะคำหนึ่งคำมีความหมายได้หลายอย่างในเหตุการณ์ต่างกัน
-การแบ่งหมวกหมู่ในเว็บมักจะเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น หัวเรื่องหรือข้อความ
ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะทำให้ทุกคนเข้าใจระบบการจัดกลุ่มข้อมูลที่เราได้ออกแบบไว้
การจัดลำดับความสำคัญของข้อมูล
ได้แก่ การจัดกลุ่มข้อมูลการกำหนดตำแหน่งของข้อมูลและเทคนิคที่ใช้นำเสนอ
ผู้ออกแบบควรจัดกลุ่มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยรูปแบบ
การจัดกลุ่มข้อมูลอาจกระทำได้หลายลักษณะ
หลักการออกแบบโครงสร้างระบบข้อมูลแบบลำดับชั้น
ควรมีจำนวน 7 บวกลบ 2 รายการในเมนูที่มีจำนวนรายการมากกว่า 10
จะสร้างความรู้สึกว่ามากเกินไปส่วนความลึกไม่ควรเกิน 4-5 ชั้น
เพราะจะทำให้ผู้ใช้อาจหมดหวังและเลิกล้มความตั้งใจได้
โครงสร้างระบบข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์
มีลักษณะคล้ายเครือข่ายโยงใยโครงสร้างระบบนี้แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ
รายการ หรือกลุ่มข้อมูลที่ถูกลิงค์กับลิงค์ที่เชื่อมโยงข้อมูลเหล่านั้นส่วนใหญ่จึง มักนำระบบนี้มาใช้เป็นส่วนเสริมให้กับโครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น
โครงสร้างข้อมูลแบบฐานข้อมูล
มักนิยมใช้กับเว็บขนาดใหญ่ การนำระบบฐานข้อมูลมาใช้ในเว็บจะช่วยเพิ่ม
ความสามารถในการค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง แต่เป็นเรื่องยาก
ที่จะเอาข้อมูลทั้งหมดมาไว้ในฐานข้อมูล
บทที่4
จัดระบบข้อมูลในเว็บ
ปัญหาความคลุมเครือของกลุ่มข้อมูลจัดระบบข้อมูลในเว็บ
-การแบ่งข้อมูลต้องอาศัยพื้นฐานทางด้านภาษามาช่วยเพราะคำหนึ่งคำมีความหมายได้หลายอย่างในเหตุการณ์ต่างกัน
-การแบ่งหมวกหมู่ในเว็บมักจะเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น หัวเรื่องหรือข้อความ
ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะทำให้ทุกคนเข้าใจระบบการจัดกลุ่มข้อมูลที่เราได้ออกแบบไว้
การจัดลำดับความสำคัญของข้อมูล
ได้แก่ การจัดกลุ่มข้อมูลการกำหนดตำแหน่งของข้อมูลและเทคนิคที่ใช้นำเสนอ
ผู้ออกแบบควรจัดกลุ่มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยรูปแบบ
การจัดกลุ่มข้อมูลอาจกระทำได้หลายลักษณะ
หลักการออกแบบโครงสร้างระบบข้อมูลแบบลำดับชั้น
ควรมีจำนวน 7 บวกลบ 2 รายการในเมนูที่มีจำนวนรายการมากกว่า 10
จะสร้างความรู้สึกว่ามากเกินไปส่วนความลึกไม่ควรเกิน 4-5 ชั้น
เพราะจะทำให้ผู้ใช้อาจหมดหวังและเลิกล้มความตั้งใจได้
โครงสร้างระบบข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์
มีลักษณะคล้ายเครือข่ายโยงใยโครงสร้างระบบนี้แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ
รายการ หรือกลุ่มข้อมูลที่ถูกลิงค์กับลิงค์ที่เชื่อมโยงข้อมูลเหล่านั้นส่วนใหญ่จึง มักนำระบบนี้มาใช้เป็นส่วนเสริมให้กับโครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น
โครงสร้างข้อมูลแบบฐานข้อมูล
มักนิยมใช้กับเว็บขนาดใหญ่ การนำระบบฐานข้อมูลมาใช้ในเว็บจะช่วยเพิ่ม
ความสามารถในการค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง แต่เป็นเรื่องยาก
ที่จะเอาข้อมูลทั้งหมดมาไว้ในฐานข้อมูล